ทฤษฏีบททวินาม

ทฤษฏีบททวินาม

   
จากทฤษฏีของการกระจายคูณของเเต่ละวงเล็บของ (x+y) จะทำให้เกิดกรณีดังต่อไปนี้

กำหนดให้ (x + y) มีการคูณไปเรื่อยๆจำนวน n วงเล็บ
โดยจากสูตรของการเลือกวงเล็บต่างๆที่เรียนในบทของ 3.3 เราจะได้สูตรว่า
Cn,r  =        n!     
              (n - r)!r!
หากเราให้ สัมประสิทธิ์ของ  ดังนั้นเราจะสามารถสรุปตามสูตรทฤษฏีบททวินาม (Binomial Theorem) ได้ว่า
สูตรทฤษฏีบททวินาม

ข้อสังเกตของบททฤษฏีทวินามนั้น จริงๆเเล้วนั้นมาจากบทรูปสามเหลี่ยมปาสกาล เเต่เนื่องจากว่าเราสามารถใช้ทฤษฏีบททวีนามนั้นในการหาวงเล็บที่มีการคูณเรื่อยๆเป็นจำนวนมาก เเต่เงื่อนไขในการใช้บททฤษฏีทวินามมีดังต่อไปนี้
1. จำนวนเเรกเเละจำนวยนสุดท้ายในเเต่ละเเถวนั้นคือ 1 เสมอ เพราะหาใช้สูตร Cn,r โดยกำหนดให้ r เป็น 0 หรือ n นั้น คำตอบก็จะเท่ากับ 1 อยู่เสมอ
2. ในเเต่ละเเถวนั้น จำนวนเเต่ละ จำนวนยกเว้นจำนวนเเรกเเละจำนวนสุดท้ายนั้น จะเท่ากับผลบวกของจำนวนสองจำนวนอยู่เสมอ  หรือกล่าวได้ว่า

ยกตัวอย่าง 

วิธีทำเเละคำตอบ

 

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

วิธีการจัดหมู่

ความน่าจะเป็นเเละกฏที่สำคัญบางประการของความน่าจะเป็น